8 ธันวาคม 2553

Lecture#5 - 8 Dec 2010

Productivity Paradox
                ในการลงทุนอะไรสักอย่าง เราก็มักจะคาดหวังว่าจะได้ผลตอบแทนคืนมาอย่างน้อยก็เท่ากับที่ลงทุนไป แต่ในความจริงแล้วอาจไม่สามารถเป็นได้ตามที่คาดหวังมากนัก เราคิดว่าคอมพิวเตอร์มีความสามารถมากขึ้น แต่จริงๆและ productivity ก็อาจไม่ได้เพิ่มเท่าที่เราคิดไว้ เช่น การลงทุนใน Information Technology แล้วไม่สามารถแสดงได้ว่ามียอดขายเพิ่มขึ้น เพราะเราไม่รู้ว่า productivity ไปอยู่ตรงส่วนไหน

Possible Reasons for the Productivity Paradox
·        Productivity gains are not shown in data or analysis
เนื่องจากเราไม่สามารถระบุหรือวัด Productivity จากการลงทุนนี้ได้
·        Productivity gains are offset by losses from the same IT in other areas
เช่น ฝ่าย IT มีรายได้เพิ่มขึ้น แต่ฝ่าย marketing กลับมีรายได้ลดลง ก็ทำให้ offset ได้
·        Productivity gains are offset by high costs
เนื่องจาก IT บางโครงการอาจมีต้นทุนที่สูงมาก
·        Time lag may distort the picture
เช่น การลงทุนในวันนี้อาจได้ผลตอบแทนกลับคืนมาในอีก 5 ปี

Possible Reasons for the Productivity Paradox
                เราควรจะมอง Information Technology Project ในระดับองค์กร ไม่ได้มองแค่ว่า Information Technology ที่เราจะลงทุนนั้นประหยัดที่สุดหรือไม่ คุ้มที่สุดหรือไม่ แต่จะต้องดูว่า Information Technology นี้เหมาะสมกับองค์กรของเราหรือไม่ โดยจะต้องระบุและพิจารณา Direct impact ต่างๆ เช่น Direct cost saving, Revenue generation, major organizational change ซึ่งองค์กรจะต้องประเมินทั้งด้าน ต้นทุน และประโยชน์ที่จะได้รับอย่างเหมาะสม

Evaluating IT Investments
·        Why justify IT investment?
สาเหตุที่เราต้องเลือกเพราะองค์กรมีทรัพยากรจำกัด และการลงทุนใน IT ก็จำเป็นจะต้องใช้ทรัพยากรเช่นกัน และการลงทุนล้วนต้องการผลตอบแทน จึงต้องมีการ Justify โครงการต่างๆ

IT Justification Process
·        Lay an appropriate foundation for analysis, and then conduct your ROI.
·        Conduct a good research on metrics & validate them.
·        Justify, clarify, and document the costs and benefits assumptions.
·        Document and verify all figures used in the calculation and include risk analysis.
·        Is the project really bolstering the company’s competitive and strategic advantage?
·        Not to underestimate costs and overestimate benefits
·        Commit all partners, including vendors and top management.

Projects which no need to justify or cannot justify
·        โครงการที่มีเงินลงทุนน้อยมาก
·        โครงการที่เป็น Infrastructure
·        โครงการที่กฎหมายบังคับให้ต้องลงทุน
·        โครงการที่เรามีข้อมูลในการตัดสินใจไม่เพียงพอ
·        โครงการที่ผู้บังคับบัญชากำหนดว่าต้องลงทุน

Difficulties in Measuring Productivity & Performance Gains
·        ไม่สามารถวัด Productivity ได้ แต่สามารถแก้ปัญหาได้บ้างโดยใช้ BSC หรือการกำหนด KPI
·        Time lags
·        ไม่สามารถหาความสัมพันธ์ระหว่าง IT investment กับ Organizational performance ได้
·        Intangible Benefits
Handling Intangible Benefit : ซึ่งอาจจะใช้วิธีวัดโดยใช้ Likert scale, การประเมินแบบคร่าวๆ, หรือดูว่ามีความเกี่ยวข้องกับ strategy ขององค์กรอย่างไรบ้าง รวมถึง indicator ต่างๆ เช่น ลูกค้ามีความซื่อสัตย์กับองค์กรมากขึ้น แต่จะต้องระวัง เพราะเราไม่ควรประเมินสูงไป หากเราประเมินสูงไป จะทำให้ผลออกมาว่าเราต้องลงทุนแน่ๆ แต่เมื่อผลตอบแทนออกมาก็จะไม่เหมือนกับที่คาดไว้ นอกจากนี้ เราควรจะมองผลที่จะได้รับในระยะสั้นก่อน ซึ่งจะเป็นสิ่งที่เราจะได้มาชัวร์ๆ

Cost-Benefit
·        Cost
-Development costs เช่น การจ้างคนในการพัฒนาไม่ว่าจะเป็น in-house หรือ outsource
-Setup costs
-Operational costs เช่น ค่า Operate ระบบ, ค่าไฟ
·        Benefit
Direct benefits เกิดจากการ Operate ระบบโดยตรง เช่น ทำงานเร็วขึ้น, ต้นทุนลดลง
Assessable indirect benefits เช่น Operate ระบบแล้วลด Error ที่เกิดขึ้น
Intangible benefits

Cost-Benefit Evaluation Techniques
·        Net profit
ผลต่างระหว่างต้นทุนและรายได้ทั้งหมดตลอดอายุโครงการ
·        Payback period
ระยะเวลาที่จะทำให้ได้รับเงินลงทุนกลับคืนมา
·        Return on investment (ROI)
การเปรียบเทียบกำไรสุทธิกับเงินลงทุนทั้งหมด โดยคิดเป็นร้อยละ
·        Net present value (NPV)
·        Interest rate of return (IRR)

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น